รวบรวมข้อมูลการฝากครรภ์ในแต่ละครั้ง รวมไปถึงการตรวจครรภ์ และคำถามที่คุณแม่ควรจะถามคุณหมอในการเข้าตรวจแต่ละครั้ง
เมื่อถึงสัปดาห์ที่ 10 ของการตั้งครรภ์ ก็จะถึงเวลาที่คุณแม่ต้องตัดสินใจว่าจะทำการตรวจสอบทางพันธุกรรมเพื่อหาความผิดปกติของลูกในครรภ์หรือไม่
หากในถุงน้ำคร่ำยังมีปริมาณน้ำอยู่มาก และคุณแม่และลูกน้อยไม่มีอาการใด ๆ ที่น่าเป็นห่วง แพทย์อาจให้วันกำหนดคลอดเลื่อนไปถึงสัปดาห์ที่ 41 หรือ 42 ก็ได้
นี่อาจเป็นนัดครั้งสุดท้ายของคุณแม่บางคน ซึ่งคุณหมอก็จะตรวจเช็คบริเวณเชิงกรานของคุณแม่ และตำแหน่งของลูกเหมือนเดิม วันครบกำหนดคลอดใกล้เข้ามาแล้ว
คุณหมอจะตรวจดูบริเวณเชิงกรานของคุณแม่และตำแหน่งของลูกดูอีกครั้ง การพลิกตัวของลูกน้อยในครรภ์อาจเปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากเขามีขนาดใหญ่ขึ้น
คุณหมอจะตรวจดูบริเวณเชิงกราน และตำแหน่งของลูก นัดครั้งนี้เป็นเวลาเหมาะสมที่คุณแม่จะปรึกษาคุณหมอเรื่องวิธีคลอด
ในช่วงสัปดาห์ที่ 35-40 แพทย์อาจตรวจปากมดลูกดูการขยายตัวว่าเปิดกว้างมากน้อยแค่ไหน
ในเร็ว ๆ นี้ลูกน้อยจะเริ่มพลิกตัวให้อยู่ในลักษณะเอาศีรษะลง ซึ่งในนัดครั้งนี้ คุณหมอจะตรวจดูว่าเขาอยู่ในท่านี้แล้วหรือยัง เมื่อลูกพลิกตัวในลักษณะนี้
เนื่องจากลูกน้อยมีขนาดใหญ่ขึ้นทำให้สามารถสัมผัสได้ถึงการเตะและการสะอึกของเขา แต่อาจส่งผลให้มีอาการหายใจลำบาก
ถ้าไม่มีอะไรผิดปกติ และพัฒนาการของลูกน้อยเป็นไปตามเกณฑ์ ในนัดครั้งนี้ คุณแม่จะมีโอกาสได้คุยกับคุณหมอเรื่องอาการต่าง ๆ
ในนัดตรวจครรภ์ครั้งที่ 3 นี้ คุณหมอจะตรวจดูการพัฒนาของลูก และตรวจเลือดคุณแม่ว่ามีโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์หรือไม่
นัดครั้งที่ 2 นี้ค่อนข้างพิเศษ เพราะคุณแม่อาจได้ยินเสียงหัวใจของลูกน้อย และอาจได้ทราบเพศได้แล้วจากการทำอัลตราซาวด์
คุณหมอจะยืนยันการตั้งครรภ์ของคุณแม่ และกำหนดวันคลอดมาให้ ถ้าทำอัลตราซาวนด์ คุณแม่ก็จะได้เห็นลูกตัวน้อย ๆ ขยับไปมาอยู่ในท้อง และถ้าคุณแม่มีอายุมากกว่า