การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นวิธีที่สุดสำหรับทารกในการได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนสำหรับพัฒนาการที่สมบูรณ์แข็งแรง และเป็นวิธีที่ดีมากวิธีหนึ่งสำหรับการสร้างสายสัมพันธ์ระหว่างคุณแม่และลูกน้อย
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นวิธีที่สุดสำหรับทารกในการได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนสำหรับพัฒนาการที่สมบูรณ์แข็งแรง
นมแม่นั้นมีสารอาหารที่จำเป็นในปริมาณที่เหมาะสมสำหรับการเจริญเติบโตของเด็กแรกเกิด และการที่นมแม่จะมีคุณประโยชน์ครบถ้วนนั้น
อาทิตย์แรกหลังคลอดเป็นช่วงเวลาที่สำคัญ สำหรับคุณแม่มือใหม่ การเลี้ยงลูกด้วยนมจะกลายเป็นกิจกรรมที่สำคัญในชีวิตประจำวันตลอด 6-24 เดือนต่อจากนี้
แม้ว่าการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จะเป็นวิธีการตามธรรมชาติ แต่ก็อาจไม่ใช่เรื่องง่ายเสมอไป
คุณแม่สามารถลองจัดท่าทางในการให้นมลูกหลาย ๆ แบบ เพื่อจะได้ตัดสินใจว่าแบบไหนดีที่สุด ท่าที่เป็นที่นิยมสำหรับคุณแม่หลาย ๆ คนมีดังต่อไปนี้
คุณแม่ที่กำลังให้นมสามารถนวดเต้านมเพื่อช่วยในเรื่องต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการช่วยกระตุ้นให้น้ำนมไหลออกมามากขึ้น
โดยปกติแล้วการให้นมลูกน้อยไม่ทำให้เกิดความเจ็บปวดใด ๆ แต่เมื่อลูกน้อยเริ่มดูดนม คุณแม่อาจรู้สึกเจ็บนิดหน่อยเป็นปกติ และเมื่อน้ำนมเริ่มไหลออกมา
หลังจากให้นมลูกน้อยไปสองสามวัน หรือสองสามสัปดาห์ คุณแม่อาจพบว่ามีก้อนแข็ง ๆ ที่บริเวณเต้านมและเจ็บเมื่อกด หรืออาจมีอาการปวดบวมที่เต้านม
คุณแม่มือใหม่มักกังวลว่าจะไม่มีน้ำนมที่เพียงพอให้ลูก ซึ่งความกังวลนี้อาจเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้ล้มเลิกการให้นมลูกน้อยเร็วเกินไป
เด็กทารกนั้นเกิดมาพร้อมกับสัญชาตญาณในการดูด ทารกน้อยจะฝึกฝนทักษะการดูดตั้งแต่อยู่ในครรภ์ อย่างไรก็ตาม เขายังต้องทำความรู้จักกับหน้าอกของคุณแม่
ในช่วงสองสามสัปดาห์แรกหลังคลอด เด็กทารกมักง่วงนอนง่าย ดังนั้นจึงเป็นเรื่องปกติที่ทารกน้อยอาจเผลอหลับระหว่างการให้นม
การเพิ่มน้ำนมนั้นมีหลากหลายความเชื่อและความเข้าใจที่ผิด ๆ มากมาย จริง ๆ แล้วการเพิ่มน้ำนมนั้นคุณแม่ควรเริ่มจากการเข้าเต้าอย่างถูกวิธี
หากคุณแม่ที่ให้นมลูกนั้นต้องห่างจากลูกน้อยเป็นเวลานาน หรือไม่อยู่กับลูกในช่วงที่ต้องให้นม คุณแม่สามารถปั๊มนมเก็บไว้ได้
เครื่องปั๊มนมที่ตอบโจทย์ความต้องการ เข้ากับสรีระ และเหมาะกับการใช้ชีวิตของคุณแม่ถือเป็นการลงทุนที่คุ้มค่าและเหมาะสมสำหรับช่วงเวลาที่ต้องให้นมลูกน้อย
ในการให้นมลูกนั้น คุณแม่จะต้องการพลังงานเพิ่มขึ้น 300-500 แคลอรีต่อวัน เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายที่เพิ่มขึ้น
ถึงแม้ว่าจะไม่มีอาหารชนิดไหนที่เป็นของ “ต้องห้าม” อย่างเด็ดขาดในช่วงให้นม แต่คุณแม่ที่กำลังให้นมลูกน้อยควรหลีกเลี่ยงอาหารบางอย่าง ทั้งนี้
เมื่อเริ่มให้นมลูกน้อยแล้วนั่นหมายความว่าคุณแม่กำลังสร้างสุขภาพที่ดีให้กับเขา อย่างไรก็ตาม
คุณหมอมักแนะนำให้คุณแม่ให้นมลูกต่อถึงแม้คุณแม่จะไม่สบาย เพราะปริมาณแอนติบอดีในนมแม่จะช่วยลดความเสี่ยงที่ลูกน้อยจะป่วยด้วยอาการเดียวกันไปด้วย
การเลิกเต้าควรเป็นการตัดสินใจจากทั้งสองฝ่าย คือทั้งคุณแม่และลูกน้อย เพราะท้ายที่สุดแล้ว การให้นมไม่ได้เป็นการให้สารอาหารแก่ลูกน้อยอย่างเดียว
ของใช้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการให้นมลูกอาจแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับการใช้ชีวิตของคุณแม่มือใหม่แต่ละคน อย่างไรก็ตาม