ดาวน์โหลดแอป

อาการคนท้องรายสัปดาห์

ติดตามการตั้งครรภ์สัปดาห์ต่อสัปดาห์เกี่ยวกับพัฒนาการของลูกในท้อง การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย อาการคนท้อง รวมถึงสิ่งที่ควรทำและไม่ควรทำในขณะที่ท้อง

อาการคนท้องสัปดาห์แรก

อาการคนท้องสัปดาห์แรก

ถึงแม้ในตอนนี้จะถือได้ว่าเป็นสัปดาห์แรกของการตั้งครรภ์ แต่การปฏิสนธิของตัวอ่อนจะยังไม่เกิดขึ้นจนกว่า 2 - 3 สัปดาห์ข้างหน้า

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 2

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 2

การไข่ตกอาจเกิดขึ้นในสัปดาห์นี้ ซึ่งหมายความว่าการตั้งครรภ์ใกล้เข้ามาทุกทีแล้ว

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 3

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 3

คุณแม่อาจจะยังไม่สังเกตเห็นอาการหรือการเปลี่ยนแปลง แต่คุณแม่อาจกำลังตั้งครรภ์อยู่ ขอแสดงความยินดีด้วย!

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 4

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 4

เมื่อไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิฝังตัวที่ผนังมดลูก ร่างกายของคุณแม่จะเริ่มหลั่งฮอร์โมนตั้งครรภ์ ทำให้ชุดทดสอบการตั้งครรภ์อาจสามารถตรวจพบการตั้งครรภ์ได้แล้ว

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 5

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 5

ในสัปดาห์นี้ลูกได้เข้าสู่ระยะของการเป็นตัวอ่อนแล้ว จากการแบ่งเซลล์และการขยับขยายทำให้เขาดูเหมือนมนุษย์ตัวน้อยเข้าไปทุกที

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 6

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 6

ในสัปดาห์นี้ หัวใจของลูกเริ่มจะเต้นแล้ว อวัยวะบนใบหน้าอย่าง แก้ม คาง และกรามเริ่มพัฒนาแล้วเช่นกัน ส่วนตาและจมูกจะยังเห็นเป็นเพียงจุดเล็ก ๆ

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 7

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 7

ศีรษะของลูกจะมีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับส่วนอื่น ๆ ของร่างกาย เนื่องจากสมองของลูกกำลังเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 8

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 8

ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 8 เป็นต้นไป ลูกจะเริ่มตอบสนองได้แล้วเมื่อถูกสัมผัส

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 9

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 9

ในสัปดาห์นี้ อวัยวะภายในของลูกเริ่มปรากฏให้เห็นแล้ว และในการพบคุณหมอครั้งถัดไป คุณแม่จะได้ยินเสียงหัวใจของลูกเต้นอีกด้วย

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 10

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 10

ลูกกำลังเข้าสู่สัปดาห์สุดท้ายของระยะตัวอ่อนแล้ว ข่าวดีสำหรับคุณแม่คือหลังจากสิ้นสุดระยะนี้ โอกาสในการแท้งบุตรจะลดลง

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 11

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 11

ต่อจากนี้ลูกจะถูกเรียกว่าทารกแล้ว เพราะเขาได้ผ่านระยะของการเป็นตัวอ่อนและเข้าสู่การเป็นทารกอย่างสมบูรณ์ ซึ่งอวัยวะสำคัญทุกส่วนของเขาได้พัฒนาขึ้นแล้ว

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 12

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 12

ในสัปดาห์นี้ลูกเริ่มที่จะงอนิ้วและกำมือได้แล้ว

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 13

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 13

ในสัปดาห์นี้ กระดูกของลูกเริ่มจะแข็งแรงขึ้นแล้ว ส่วนคุณแม่จะเริ่มมีอาการที่พบได้ในไตรมาสที่สองมากขึ้น อย่างอาการท้องผูก ความอยากทานอาหารแปลก ๆ 

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 14

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 14

คุณแม่เริ่มเข้าสู่การตั้งครรภ์ในไตรมาสที่ 2 แล้ว ในระยะนี้ลูกจะเริ่มพัฒนาระบบภูมิคุ้มกัน

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 15

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 15

ใบหน้าของลูกเริ่มดูเหมือนเด็กน้อยน่ารักมากขึ้นเรื่อย ๆ ส่วนคุณแม่อาจมีอาการคัดจมูกหรือเลือดกำเดาไหลได้เนื่องจากในร่างกายคุณแม่มีปริมาณเลือดเพิ่มขึ้น

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 16

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 16

ลูกกำลังเติบโตอย่างรวดเร็วและดิ้นไปมา ปริมาณเลือดที่เพิ่มขึ้นจะเตรียมพร้อมคุณแม่สำหรับการให้นมลูกในอนาคต

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 17

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 17

ในสัปดาห์นี้ลูกจะมีขนาดตัวใหญ่กว่ารกแล้ว ส่วนตัวคุณแม่อาจมีอาการเหงื่อออกมากกว่าปกติได้

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 18

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 18

ลูกจะสามารถได้ยินเสียงของคุณแม่ได้แล้วและคุณแม่เองก็สามารถได้ยินเสียงหัวใจของเขาเต้นผ่านหูฟังแพทย์ได้แล้วเช่นกัน

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 19

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 19

ลูกจะสร้างไขสีขาวขึ้นมาเคลือบร่างกาย ไขสีขาวนั้นปกป้องและรักษาความชุ่มชื้นบนผิวของเขาขณะคลอด และจะมีประโยชน์ต่อตัวลูกน้อยต่ออีกเมื่อคลอดออกมาแล้ว

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 20

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 20

สัปดาห์ที่ 20 ถือเป็นก้าวสำคัญสำหรับการตั้งครรภ์ เพราะนั่นหมายความว่าคุณแม่และ ลูกได้เดินด้วยกันมาถึงครึ่งทางแล้ว

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 21

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 21

ลูกสามารถดูดนิ้วมือได้แล้ว ส่วนคุณแม่อาจมีปัญหาเหงือกบวมหรือปัญหาเกี่ยวกับเหงือกเพิ่มขึ้น

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 22

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 22

ลูกใช้เวลากว่า 14 ชั่วโมงในแต่ละวันเพื่อนอนหลับ และใช้เวลาที่เหลือกับการฝึกเคลื่อนไหว คุณแม่อาจมีอาการเจ็บบริเวณบั้นท้ายที่เรียกว่า ริดสีดวงทวาร

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 23

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 23

ในสัปดาห์นี้ ใบหน้าของลูกจะพัฒนาได้สมบูรณ์แล้ว คุณแม่บางท่านอาจมีอาการเจ็บเตือนหรือ Braxton-Hicks contraction เป็นครั้งแรก

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 24

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 24

ในระยะนี้ลูกเริ่มมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อเสียงภายนอก เช่น กะพริบตาเมื่อคุณแม่ปรบมือดัง ๆ ส่วนท้องของคุณแม่จะมีขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 25

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 25

ในตอนนี้ลูกสามารถตอบสนองต่อเสียงที่เขาคุ้นเคยได้แล้ว เช่น เสียงของคุณแม่

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 26

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 26

ลูกน่าจะอยู่ในตำแหน่งกลับหัว ซึ่งเป็นตำแหน่งเดียวกับตอนคลอดแล้ว คุณแม่อาจหลับไม่สนิทเพราะการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในร่างกายและครรภ์ที่โตขึ้นเรื่อย ๆ

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 27

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 27

สัปดาห์นี้ถือเป็นสัปดาห์สุดท้ายในไตรมาสที่สองของการตั้งครรภ์แล้ว ในตอนนี้สมองของลูกจะเป็นส่วนที่พัฒนาได้เร็วกว่าส่วนอื่น ๆ ของร่างกาย

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 28

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 28

ยินดีด้วย! คุณแม่ได้เข้าสู่ไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์แล้ว! ตอนนี้ลูกสามารถควบคุมอุณหภูมิร่างกายได้ และกำลังเริ่มฝึกหายใจ อีกสองสัญญาณที่บ่งบอกว่า

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 29

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 29

ตอนนี้ลูกกำลังเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว ร่างกายของเขาทั้งใหญ่ขึ้นและแข็งแรงขึ้นด้วย โดยกล้ามเนื้อในร่างกายกับปอดก็ใกล้ที่จะสมบูรณ์แล้ว

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 30

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 30

ตอนนี้ลูกน่าจะพลิกตัวไปอยู่ในตำแหน่งที่เหมาะต่อการคลอดตามธรรมชาติแล้ว

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 31

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 31

ลูกสามารถหันศีรษะได้แล้ว และอาจหันเพื่อตอบสนองต่อเสียงของคุณแม่ก็ได้ ในตอนนี้ ถ้าคุณแม่มีอาการ Broxton-Hicks contraction หรืออาการปวดบีบแบบหลอกอยู่

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 32

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 32

ลูกน่าจะอยู่ในตำแหน่งกลับหัวแล้ว และศีรษะของเขาจะเคลื่อนเข้ามาอยู่ใกล้บริเวณปากมดลูกมากขึ้น

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 33

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 33

ในตอนนี้ลูกสามารถเปิดตาตอนตื่นและหลับตาตอนหลับได้แล้ว เพราะลูกมีน้ำหนักเพิ่มขึ้น ครรภ์ของคุณแม่เองก็ใหญ่ขึ้นตามไปด้วยเช่นกัน

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 34

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 34

ปอด สมอง และระบบประสาทส่วนกลางของลูกพัฒนาจนใกล้จะสมบูรณ์แล้ว และเริ่มเคลื่อนศีรษะไปใกล้ปากมดลูกมากขึ้น อาการต่าง ๆ

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 35

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 35

กระดูกและอวัยวะส่วนใหญ่ของลูกพัฒนาจนใกล้จะสมบูรณ์แล้ว ส่วนคุณแม่อาจรู้สึกถึงการบีบตัวของมดลูกบ่อยขึ้น และมีตกขาวเพิ่มขึ้นด้วย

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 36

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 36

ในสัปดาห์นี้ปอดของลูกพัฒนาจนสมบูรณ์ และต่อจากนี้เขาจะสามารถหายใจได้ด้วยตัวเองแล้ว

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 37

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 37

อวัยวะทุกระบบในร่างกายของ ลูก ถูกพัฒนาจนสมบูรณ์ ทำให้เขาพร้อมที่จะออกมาลืมตาดูโลกได้อย่างปลอดภัยแล้ว ในขณะเดียวกันคุณแม่อาจมีเลือดปนออกมากับตกขาวได้

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 38

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 38

ดวงตาและเส้นผมของลูกเริ่มมีการสะสมของเม็ดสีแล้ว ปอดของเขาเองก็ยังผลิตสารลดแรงตึงผิวเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 39

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 39

ขอแสดงความยินดีด้วย! ตอนนี้ลูกมีอายุครรภ์ครบกำหนดแล้ว! ตอนนี้คุณแม่สามารถช่วยกระตุ้นให้ลูกอยู่ในท่าพร้อมคลอดได้โดยการเดินออกกำลังกายช้า ๆ

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 40

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 40

ขอแสดงความยินดีกับคุณแม่ด้วย เพราะตอนนี้ลูกได้เติบโตจนมีร่างกายที่สมบูรณ์แล้ว และเขาพร้อมแล้วที่จะออกมาเจอคุณแม่

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 41

อาการคนท้องสัปดาห์ที่ 41

จนถึงสัปดาห์นี้ หากคุณแม่ยังไม่คลอดนั้นไม่ได้บ่งบอกถึงความผิดปกติใด ๆ และแน่นอนว่าลูกกำลังมีความสุขกับการอยู่ในครรภ์ของคุณแม่

ดาวน์โหลดแอปMali Daily Pregnancy Tracker

แม่มือใหม่ & การตั้งครรภ์

เรตติ้ง 4.9 จากผู้ใช้งานกว่า 10,000+ คน

เรตติ้ง 4.9 จากผู้ใช้งานกว่า 10,000+ คน